สมุนไพรรักษาพังผืด
ว่าโรคนี้คือโรคอะไร เกิดจากสาเหตุอะไร มีอันตราย อย่างไร และ ถ้าหากว่า เกิดอาการแล้ว จะมีวิธีการรักษาอย่างไร นพ.พูนศักดิ์ อาจอำนวยวิภาส แพทย์ศัลยกรรมกระดูก และข้อ จะมาอธิบายให้ฟัง …
สาเหตุของโรค
สาเหตุของโรค
นพ.พูนศักดิ์ บอกว่า ปกติบริเวณข้อมือของคนเรานั้นจะมีลักษณะเป็นโพรง และมีพังผืดอยู่บริเวณด้านบน โดยจะมีทั้งเส้นเอ็นและเส้นประสาทใหญ่ที่เรียกว่า เส้นประสาทมีเดียน ลอดจากโพรงข้อมือไปสู่ฝ่ามือ และเมื่อพังผืดเกิดการหนาตัวมากขึ้น หรือเกิดการอักเสบขึ้น พังผืดนั้นก็จะไปกดทับเส้นประสาทที่ข้อมือ ทำให้เส้นประสาทเกิดอาการอักเสบ และเกิดอาการชาที่มือตามมา
การที่พังผืดเกิดการหนาตัวมากขึ้นนั้นก็มาจากหลายสาเหตุด้วยกัน ไม่ว่าจะมาจากสภาพร่างกาย เช่น อายุที่มากขึ้น ทำให้พังผืดอักเสบ และหนาตัวขึ้น, เพศ ซึ่งเพศหญิงจะมีโอกาสเป็นโรคนี้มากกว่าผู้ชาย, ลักษณะโครงสร้างของมือที่ผิดปกติ หรือลักษณะการใช้ข้อมือ หรือแม้แต่กรรมพันธุ์ก็สามารถเป็นสาเหตุได้เช่นกัน
นอกจากการที่พังผืดเกิดการหนาตัวมากขึ้น และไปกดทับเส้นประสาทที่ข้อมือแล้ว โรคนี้ยังอาจจะเกิดจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นไดอีกด้วย เช่น เกิดการกระดูกหักที่ข้อมือก็จะทำให้โพรงข้อมือแคบลง หรือเกิดการบาดเจ็บบริเวณข้อมือจากการหกล้ม หรือโรคบางอย่างเช่น เบาหวาน รูมาตอย ไทรอยด์ หรือเป็นโรคบางอย่างที่เกี่ยวกับพังผืดก็จะทำให้หนาตัวขึ้นไดั
นอกจากการที่พังผืดเกิดการหนาตัวมากขึ้น และไปกดทับเส้นประสาทที่ข้อมือแล้ว โรคนี้ยังอาจจะเกิดจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นไดอีกด้วย เช่น เกิดการกระดูกหักที่ข้อมือก็จะทำให้โพรงข้อมือแคบลง หรือเกิดการบาดเจ็บบริเวณข้อมือจากการหกล้ม หรือโรคบางอย่างเช่น เบาหวาน รูมาตอย ไทรอยด์ หรือเป็นโรคบางอย่างที่เกี่ยวกับพังผืดก็จะทำให้หนาตัวขึ้นไดั
นอกจากนั้น ผู้ที่ใช้ข้อมืออย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานๆ เช่น ช่างฝีมือ พนักงานโรงงาน หรือผู้ที่ทำงานออฟฟิศที่ต้องใช้เมาส์คอมพิวเตอร์นานๆ หรือผู้ที่ต้องรับโทรศัพท์นานๆ ก็เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดไดเช่นกัน ซึ่งถ้าเส้นประสาทถูกกดทับนานๆ เข้าก็อาจจะทำให้กล้ามเนื้อลีบลง และประสิทธิภาพการทำงานของมือลดลงตามไปด้วย
อาการที่สังเกตได
การที่จะสังเกตว่าตนเองเริ่มมีอาการของโรคนี้หรือไม่นั้น สังเกตได้จาก
อาการที่สังเกตได
การที่จะสังเกตว่าตนเองเริ่มมีอาการของโรคนี้หรือไม่นั้น สังเกตได้จาก
• เกิดอาการชาที่ฝ่ามือ อาจจะชาๆ หายๆ เหมือนเป็นเหน็บชา แต่พอนานๆ เข้าอาการก็จะชัดขึ้นเรื่อยๆ คือ เกิดอาการชาที่บริเวณนิ้วโป้ง นิ้วชี้ และนิ้วกลาง
• หลังจากนั้นอาการชาก็จะเป็นมากขึ้น และพบว่ามีอาการปวดร้าวร่วมด้วย และอาการจะกระจายขึ้นมาที่แขน
• มักจะมีอาการปวดเวลากลางคืน หรือมีอาการชามากเวลาใช้มือ เช่น ทำงานบ้าน
• ถ้ามีอาการมากๆ อาจจะเกิดอาการมืออ่อนแรงตามมา อาจจะถึงกับถือหนังสือพิมพ์อ่านก็ยังไม่ได้ และถ้าปล่อยเอาไวนานๆ ไม่รักษากล้ามเนื้อก็จะอ่อนแรง กล้ามเนื้อมือจะลีบลงผิดรูป ซึ่งอันตรายถ้าปล่อยเอาไวนานๆ โดยไม่รักษา
• หลังจากนั้นอาการชาก็จะเป็นมากขึ้น และพบว่ามีอาการปวดร้าวร่วมด้วย และอาการจะกระจายขึ้นมาที่แขน
• มักจะมีอาการปวดเวลากลางคืน หรือมีอาการชามากเวลาใช้มือ เช่น ทำงานบ้าน
• ถ้ามีอาการมากๆ อาจจะเกิดอาการมืออ่อนแรงตามมา อาจจะถึงกับถือหนังสือพิมพ์อ่านก็ยังไม่ได้ และถ้าปล่อยเอาไวนานๆ ไม่รักษากล้ามเนื้อก็จะอ่อนแรง กล้ามเนื้อมือจะลีบลงผิดรูป ซึ่งอันตรายถ้าปล่อยเอาไวนานๆ โดยไม่รักษา
วิธีการรักษา
อาการคร่าวๆ แบ่งได้เป็น 3 ระดับ
- เกิดอาการชาอย่างเดียว
ลักษณะอย่างนี้แพทย์มักจะแนะนำให้ปรับท่าทางการใช้มือ เช่น คนที่ต้องพิมพ์ดีด หรือใช้คอมพิวเตอร์บ่อยๆ ก็ให้หาหมอนมารองข้อมือ หรือพยายามหลีกเลี่ยงการใช้มือข้างที่เกิดอาการชานั้นสักพักหนึ่ง รวมทั้งรับประทานยาแก้อักเสบ
ลักษณะอย่างนี้แพทย์มักจะแนะนำให้ปรับท่าทางการใช้มือ เช่น คนที่ต้องพิมพ์ดีด หรือใช้คอมพิวเตอร์บ่อยๆ ก็ให้หาหมอนมารองข้อมือ หรือพยายามหลีกเลี่ยงการใช้มือข้างที่เกิดอาการชานั้นสักพักหนึ่ง รวมทั้งรับประทานยาแก้อักเสบ
- มีอาการชามากขึ้น และมีอาการปวดร่วมด้วย
แพทย์จะแนะนำให้รับประทานยา และควบคู่กับการใส่เฝือกพยุงข้อมือ เพื่อให้ลดการใช้งานเกี่ยวกับมือลง
- ถ้าชา และมีอาการปวดมาก
อาจจะต้องมีการฉีดยาแก้อักเสบที่โพรงข้อมือ ร่วมกับการรับประทานยา แต่ถ้าฉีดยาแล้วไม่ไดผลก็อาจจะต้องเข้ารับการรักษาด้วยการผ่าตัดต่อไป
การผ่าตัดนั้นก็จะแบ่งออกเป็น 2 วิธี
1. ผ่าตัดแบบเดิม คือ แพทย์จะทำการผ่าตั้งแต่ข้อมือถึงฝ่ามือ ซึ่งแผลจะยาวประมาณ 5-6 เซนติเมตร เพื่อเอาตัวพังผืดออกมา ทำให้เส้นประสาทไมถูกกดทับ ซึ่งหลังจากการผ่าตัดผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดแผล มีบวม ต้องใช้เวลาประมาณ 2-3 อาทิตย์ แผลจึงจะหายพอที่จะทำงานเบาๆ ไดและจะกลับมาเป็นปกติประมาณ 3 เดือน
2. การผ่าตัดโดยส่องกล้อง โดยจะสอดกล้องเข้าไปในโพรงข้อมือ แล้วตัดพังผืดออกมา โดยแผลจะมีขนาดเล็ก และไม่ค่อยปวดแผลมากนัก การผ่าตัดแบบนี้แผลจะหายไว และสามารถกลับไปทำงานไดหลังจากผ่าตัด 3 วัน
วิธีการป้องกัน
แพทย์จะแนะนำให้รับประทานยา และควบคู่กับการใส่เฝือกพยุงข้อมือ เพื่อให้ลดการใช้งานเกี่ยวกับมือลง
- ถ้าชา และมีอาการปวดมาก
อาจจะต้องมีการฉีดยาแก้อักเสบที่โพรงข้อมือ ร่วมกับการรับประทานยา แต่ถ้าฉีดยาแล้วไม่ไดผลก็อาจจะต้องเข้ารับการรักษาด้วยการผ่าตัดต่อไป
การผ่าตัดนั้นก็จะแบ่งออกเป็น 2 วิธี
1. ผ่าตัดแบบเดิม คือ แพทย์จะทำการผ่าตั้งแต่ข้อมือถึงฝ่ามือ ซึ่งแผลจะยาวประมาณ 5-6 เซนติเมตร เพื่อเอาตัวพังผืดออกมา ทำให้เส้นประสาทไมถูกกดทับ ซึ่งหลังจากการผ่าตัดผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดแผล มีบวม ต้องใช้เวลาประมาณ 2-3 อาทิตย์ แผลจึงจะหายพอที่จะทำงานเบาๆ ไดและจะกลับมาเป็นปกติประมาณ 3 เดือน
2. การผ่าตัดโดยส่องกล้อง โดยจะสอดกล้องเข้าไปในโพรงข้อมือ แล้วตัดพังผืดออกมา โดยแผลจะมีขนาดเล็ก และไม่ค่อยปวดแผลมากนัก การผ่าตัดแบบนี้แผลจะหายไว และสามารถกลับไปทำงานไดหลังจากผ่าตัด 3 วัน
วิธีการป้องกัน
• หลีกเลี่ยงการใช้ข้อมือซ้ำๆ เป็นเวลานาน และหลีกเลี่ยงการใช้งานที่เป็นอันตรายต่อข้อมือ หรือลดอาการใช้มือข้างนั้นลง
• หลีกเลี่ยงการกระแทกโดยตรงบริเวณข้อมือตอลดเวลา อาจจะต้องมีการปรับเปลี่ยน หรือใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือเพื่อลดการกระแทก
• คนที่มีโรคประจำตัว เช่น ผู้ป่วยเบาหวานควรติดตามอาการอย่างใกล้ชิด และเคร่งครัด ควบคุมไม่ให้น้ำตาลในเลือดสูงเกินไป
• หลีกเลี่ยงการกระแทกโดยตรงบริเวณข้อมือตอลดเวลา อาจจะต้องมีการปรับเปลี่ยน หรือใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือเพื่อลดการกระแทก
• คนที่มีโรคประจำตัว เช่น ผู้ป่วยเบาหวานควรติดตามอาการอย่างใกล้ชิด และเคร่งครัด ควบคุมไม่ให้น้ำตาลในเลือดสูงเกินไป
• ถ้าเริ่มรู้สึกว่ามีอาการมือชา และไม่ดีขึ้น หรือจับของและหล่นบ่อย ก็แสดงว่าเริ่มเกิดอาการแล้ว ควรจะไปพบแพทย์
• อีกสิ่งหนึ่งที่จะลืมไม่ไดก็คือ การออกกำลังกาย เพราะการออกกำลังกายข้อมืออย่างสม่ำเสมอจะช่วยให้เส้นเอ็น และกล้ามเนื้อต่างๆ มีความแข็งแรง เมื่อกล้ามเนื้อ เส้นเอ็นต่างๆ แข็งแรงจะเป็นตัวป้องกันอาการบาดเจ็บที่จะเกิดจากการกระแทกได
รู้ข้อมูลแบบนี้แล้ว การระมัดระวังตัว และดูแลตัวเอง หลีกเลี่ยงการใช้มือซ้ำๆ เป็นเวลานานๆ รวมทั้งออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอก็น่าจะทำให้ห่างไกลจากอาการของโรคพังผืดกดทับเส้นประสาทข้อมือได้ไม่ยาก
รู้ข้อมูลแบบนี้แล้ว การระมัดระวังตัว และดูแลตัวเอง หลีกเลี่ยงการใช้มือซ้ำๆ เป็นเวลานานๆ รวมทั้งออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอก็น่าจะทำให้ห่างไกลจากอาการของโรคพังผืดกดทับเส้นประสาทข้อมือได้ไม่ยาก
ขอบคุณ: forwarded mail
http://nawaporn.wordpress.com
ขอบคุณบทความดีๆครับ อีกวิธีหนึ่งคือทานสมุนไพรกิโลมะกังนะครับช่วยสลายพังผืดได้
ตอบลบทานสมุนไพรกิโลมะกังช่วยได้จริงๆใช่มั้ยครับตอนนี้ผมชาที่มือ(นิ้วก้อย)เป็นมากสุด
ตอบลบ