สมุนช่วยในการขับนิ่ว
อ้อยแดง
ชื่อสามัญ Saccharum officnarum Linn.
ชื่อวงศ์ Fam. : GRAMINEAE
ชื่ออื่น อ้อยดำ อ้อยตาแดง อ้อยขม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ต้น เป็นพืชจำพวกหญ้า ลำต้นกลมยาว เป็นปล้อง ๆ เนื้ออ่อนฉ่ำน้ำ เปลือกมีสีแดงอมม่วง มีตาออกตามข้อ
ใบ ใบแคบยาวเรียว มีขนสากคาย อ้อยแดงมีหลายพันธุ์ หมอพื้นบ้านนิยมใช้พันธุ์ที่มีเปลือกสีแดงเข้มและใบสีเขียว กาบเขียวอ่อนมาทำยา ส่วนพันธุ์ที่มีใบสีม่วงจะมีฤทธิ์ขับและร้อนแรงเกินไป
การขยายพันธุ์ ขยายพันธุ์โดยใช้ลำต้นที่แก่จัด
ส่วนที่ใช้ เปลือกต้น ชายอ้อย ลำต้น
สรรพคุณทางสมุนไพร
เปลือกต้น แก้ตานขโมย แก้แผลเน่าเปื่อย
ชานอ้อย แก้แผลเรื้อรัง และแก้ฝีอักเสบบวม
ลำต้น แก้ร้อนใน ขับปัสสาวะ ขับเสมหะ แก้หือดไอ แก้คลื่นไส้อาเจียน แก้ไข้สัมประชวน แก้ปัสสาวะพิการ ขับนิ่ว แก้ท้องผูก บำรุงกระเพาะอาหาร แก้ขัดเบา บำรุงธาตุ แก้สะอึก แก้ตัวร้อน และแก้พิษตานซาง
สรรพคุณ :
ทั้งต้น – แก้ปัสสาวะพิการ แก้ขัดเบา แก้ช้ำรั่ว แก้โรคนิ่ว แก้ไอ
ต้น – แก้อาการขัดเบา แก้ปัสสาวะพิการ แก้ไข้ตัวร้อน แก้พิษตานซาง บำรุงธาตุน้ำ แก้ร้อนใน กระหายน้ำ แก้เสมหะเหนียว ทำให้ชุ่มชื่นในลำคอ ในอก บำรุงกำลัง บำรุงหัวใจ ขับน้ำเหลือง แก้ช้ำใน รักษาโรคไซนัส
น้ำอ้อย – รักษาโรคนิ่ว บำรุงหัวใจ ทำให้ชุ่มชื่นในลำคอ แก้เสมหะ แก้หืด ไอ ขับปัสสาวะ บำรุงกำลัง เจริญอาหาร เจริญธาตุ
ผิวของต้นอ้อย มี wax เอามาทำยา และเครื่องสำอาง
วิธีและปริมาณที่ใช้ :
ขับปัสสาวะ แก้อาการขัดเบา
ใช้ลำตันทั้งสดและแห้งขออ้อยแดง วันละ 1 กำมือ (สด 70-90 กรัม แห้ง หนัก 30-40 กรัม) หั่นเป็นชิ้นๆ ต้มกับน้ำดื่ม ครั้งละ 1 ถ้วยชา (75 มิลลิลิตร) วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า-เย็น
อ้อยแดงมีฤทธิ์ในทางขับปัสสาวะได้ในหนูขาว กองวิจัยทางการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ รายงานว่า อ้อยแดงไม่มีพิษเฉียบพลัน
สารเคมี :
ราก มี Nitrogenase
ต้น มี Alcohols, Phenolic esters and ethers Alkaloids, Amino acids, Asparagine
น้ำอ้อย มี Cacium , Potassium, Magnesium, Phosphorus, Sulfur
ใบ มี 5, 7-Dimethyl-apigenin-4-O-B-D-glycosideส่วน
ดอก พบ 5-0-Methyl apigenin
ต้น – แก้อาการขัดเบา แก้ปัสสาวะพิการ แก้ไข้ตัวร้อน แก้พิษตานซาง บำรุงธาตุน้ำ แก้ร้อนใน กระหายน้ำ แก้เสมหะเหนียว ทำให้ชุ่มชื่นในลำคอ ในอก บำรุงกำลัง บำรุงหัวใจ ขับน้ำเหลือง แก้ช้ำใน รักษาโรคไซนัส
น้ำอ้อย – รักษาโรคนิ่ว บำรุงหัวใจ ทำให้ชุ่มชื่นในลำคอ แก้เสมหะ แก้หืด ไอ ขับปัสสาวะ บำรุงกำลัง เจริญอาหาร เจริญธาตุ
ผิวของต้นอ้อย มี wax เอามาทำยา และเครื่องสำอาง
วิธีและปริมาณที่ใช้ :
ขับปัสสาวะ แก้อาการขัดเบา
ใช้ลำตันทั้งสดและแห้งขออ้อยแดง วันละ 1 กำมือ (สด 70-90 กรัม แห้ง หนัก 30-40 กรัม) หั่นเป็นชิ้นๆ ต้มกับน้ำดื่ม ครั้งละ 1 ถ้วยชา (75 มิลลิลิตร) วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า-เย็น
อ้อยแดงมีฤทธิ์ในทางขับปัสสาวะได้ในหนูขาว กองวิจัยทางการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ รายงานว่า อ้อยแดงไม่มีพิษเฉียบพลัน
สารเคมี :
ราก มี Nitrogenase
ต้น มี Alcohols, Phenolic esters and ethers Alkaloids, Amino acids, Asparagine
น้ำอ้อย มี Cacium , Potassium, Magnesium, Phosphorus, Sulfur
ใบ มี 5, 7-Dimethyl-apigenin-4-O-B-D-glycosideส่วน
ดอก พบ 5-0-Methyl apigenin
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น